NOT KNOWN FACTS ABOUT ระบบราชการไทย

Not known Facts About ระบบราชการไทย

Not known Facts About ระบบราชการไทย

Blog Article

การใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ยังมีอยู่อย่างจำกัด การบริหารราชการไทยที่ผ่านมามีการนำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานค่อนข้างน้อย ส่งผลให้การจัดเก็บข้อมูลที่เป็นระบบ ข้อมูลต่าง ๆ ที่มีอยู่ก็กระจัดกระจายไปส่วนราชการต่างๆ ทำให้ยากต่อการนำมาใช้ประโยชน์ทั้งในเชิงปฏิบัติการและเชิงบริหาร การปฏิรูปราชการไทยโดยเฉพาะการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการทำงานจึงจะช่วยให้การปฏิบัติงานและการตอบสนองความต้องการของประชาชนเป็นไปอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้น

          เป้าประสงค์ : ปรับปรุงบทบาท ภารกิจและโครงสร้างของหน่วยงานภาครัฐ ให้สอดคล้องกับนโยบายและยุทธศาสตร์ของประเทศ โดยดำเนินการเฉพาะภารกิจที่สำคัญ จำเป็น และคุ้มค่ามีโครงสร้างที่เหมาะสม ยืดหยุ่น คล่องตัว ตลอดจนพัฒนาระบบการบริหารจัดการของหน่วยงานภาครัฐให้มีขีดสมรรถนะสูง โดยใช้ดิจิทัลเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการปฏิบัติงาน

คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (อ.ค.ต.ป.)

มาตรการส่งเสริม การเงิน ภาษี และบัญชีนวัตกรรม

ผลการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ

จากแนวคิดการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ ส่งผลทำให้ระบบบริหารราชการไทยจำต้องมีการปฏิรูปตามยุทธศาสตร์ต่าง ๆ ดังได้กล่าวมาแล้ว ในอนาคตระบบบริหารราชการไทยก็จะมีลักษณะการบริหารงานที่ยืดหยุ่น มีระบบกลไกตลาดเข้ามาเกี่ยวข้อง องค์การราชการจะต้องมีการแข่งขันเพื่อเพิ่มประสิทธิภาการบริหารงาน มีข้าราชการที่มีสมรรถนะสูงเข้ามาปฏิบัติงาน รวมทั้งการเปิดโอกาสให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารงานมากขึ้น ทั้งนี้ เพื่อเป้าหมายในการตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ

คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบราชการ (อ.ก.พ.ร.)

ฝ่ายพัฒนาคุณภาพและจริยธรรมการวิจัย

พระราชบัญญัติการอํานวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ

ปัญหาของระบบบริหารราชการไทยจะเป็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับระบบราชการที่ยังมีความล่าช้า การขยายตัวของหน่วยงานราชการ มีโครงสร้างและภารกิจที่มีความซ้ำซ้อนขาดความชัดเจน การบริหารบุคคลยังมีระบบอุปถัมภ์ ทำให้บุคลากรขาดแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่นอกจากนี้ยังถูกแทรกแซงทางการเมือง

การจัดอันดับความยาก-ง่ายในการประกอบธุรกิจของประเทศไทย

การปรับปรุง พ.ร.บ. การอำนวยความสะดวกฯ

ในการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการ ต้องใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้คำนึงถึงความับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมของประชาชน การเปิดเผยข้อมูล การติดตามตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงาน

เพจสาขารัฐประศาสนศาสตร์ ระบบราชการไทย มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

Report this page